คำสวดแผ่เมตตาตน
อะหัง สุขิโต โหมิ. นิททุกโข โหมิ. อะเวโร โหมิ. อัพยาปัชโฌ โหมิ. อะนีโฆ โหมิ. สุขี อัตตานัง ปริหะรามิ.
คำสวดแผ่เมตตา
สัพเพ สัตตา อเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
สัพเพ ปาณา อเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
สัพเพ ภูตา อเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
สัพเพ ปุคคะลา อเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
สัพเพ อัตตะภาวะปริยาปันนา อเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
สัพพา อิตถิโย อเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
สัพเพ ปุริสา อเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
สัพเพ อะริยา อเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
สัพเพ อะนะริยา อเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
สัพเพ เทวา อเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
สัพเพ มะนุสสา อเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
สัพเพ วินิปาติกา อเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
คำสวดแผ่กรุณา
สัพเพ สัตตา สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ
สัพเพ ปาณา สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ
สัพเพ ภูตา สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ
สัพเพ ปุคคะลา สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ
สัพเพ อัตตะภาวะปริยาปันนา สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ
สัพพา อิตถิโย สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ
สัพเพ ปุริสา สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ
สัพเพ อะริยา สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ
สัพเพ อะนะริยา สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ
สัพเพ เทวา สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ
สัพเพ มะนุสสา สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ
สัพเพ วินิปาติกา สัพพะทุกขา ปะมุญจัน
คำสวดแผ่มุทิตา
สัพเพ สัตตา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ
สัพเพ ปาณา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ
สัพเพ ภูตา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ
สัพเพ ปุคคะลา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ
สัพเพ อัตตะภาวะปริยาปันนา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ
สัพพา อิตถิโย ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ
สัพเพ ปุริสา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ
สัพเพ อะริยา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ
สัพเพ อะนะริยา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ
สัพเพ เทวา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ
สัพเพ มะนุสสา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ
สัพเพ วินิปาติกา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ
คำสวดแผ่อุเบกขา
สัพเพ สัตตา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธุ กัมมะปะฎิสะระณา
ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ
สัพเพ ปาณา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธุ กัมมะปะฎิสะระณา
ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ
สัพเพ ภูตา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธุ กัมมะปะฎิสะระณา
ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ
สัพเพ ปุคคะลา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธุ กัมมะปะฎิสะระณา
ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ
สัพเพ อัตตะภาวะปริยาปันนา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธุ กัมมะปะฎิสะระณา ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ
สัพพา อิตถิโย กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธุ กัมมะปะฎิสะระณา
ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ
สัพเพ ปุริสา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธุ กัมมะปะฎิสะระณา
ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ
สัพเพ อะริยา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธุ กัมมะปะฎิสะระณา
ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ
สัพเพ อะนะริยา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธุ กัมมะปะฎิสะระณา
ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ
สัพเพ เทวา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธุ กัมมะปะฎิสะระณา
ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ
สัพเพ มะนุสสา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธุ กัมมะปะฎิสะระณา
ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ
สัพเพ วินิปาติกา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธุ กัมมะปะฎิสะระณา
ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ
ความเป็นมาของพระคาถาเมตตาหลวง
พระคาถาเมตตาหลวงบทนี้ หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ท่านมักจะใช้ภาวนาเป็นการเจริญเมตตาไปยังสรรพสัตว์ไม่มีประมาณให้หมู่มนุษย์และเทวดาได้รับความร่มเย็นเป็นสุขโดยทั่วถึง
ต่อมา หลวงปู่ขาว อนาลโย แห่งวัดถ้ำกลองเพล จังหวัดอุดรธานีได้รับถ่ายทอดไว้และได้มอบให้แก่หลวงพ่อเมตตาหลวง หรือ พระญาณสิทธาจารย์(สิงห์ สุนทโร) แห่งวัดเทพพิทักษ์ปุณณาราม อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมาเพื่อใช้เป็นบทเจริญเมตตาแก่สรรพสัตว์ทั่วทุทิศานุทิศ
อานิสงส์พระคาถาเมตตาหลวง
พระคาถาเมตตาหลวงนี้เป็นการเจริญกรรมฐานชนิดที่มีอานิสงส์ทำให้จิตตั้งมั่นได้ถึงระดับ อัปนาสมาธิ คือ เมตตา กรุณา และ มุทิตาจิตสามารถตั้งมั่นได้ในระดับฌาณ ๓ ส่วนอุเบกขานั้นทำให้จิตตั้งมั่นได้ถึงฌาณ ๔
ในกรรมฐาน ๔๐ นั้น ท่านเรียกการเจริญกรรมฐานแบบนี้ว่า พรหมวิหาร ๔ หรือ อัปปมัญญา ๔
อนึ่ง! การเจริญเมตตาพรหมวิหารนี้ พระพุทธองค์ได้ทรงแสดงอานิสงส์ไว้ว่า
“ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อเมตตาเจโตวิมุตติอันบุคคลเสพแล้วเจริญแล้ว
ทำให้มากแล้ว ทำให้เป็นดุจยาน ทำให้เป็นที่ตั้ง ให้ตั้งมั่นโดยลำดับสั่งสมแล้ว ปรารภดีแล้ว พึงหวังอานิสงส์ ๑๑ ประการ คือ
๑.ย่อมหลับเป็นสุข
๒.ย่อมตื่นเป็นสุข
๓.ย่อมไม่ฝันลามก
๔.ย่อมเป็นที่รักแห่งมนุษย์ทั้งหลาย
๕.ย่อมเป็นที่รักแห่งอมนุษย์ทั้งหลาย
๖.เทวดาทั้งหลายย่อมรักษา
๗.ไฟ…ยาพิษ…หรือศัสตราย่อมไม่กล้ำกรายได้
๘.จิตย่อมตั้งมั่นได้โดยเร็ว
๙.สีหน้าย่อมผ่องใส (วรรณะย่อมผ่องใส)
๑๐.เป็นผู้ไม่หลงใหลทำกาละ (สติสัมปชัญญะสมบูรณ์)
๑๑.เมื่อไม่แทงตลอดคุณอันยิ่ง (เมื่อยังไม่บรรลุธรรมชั้นสูง) ย่อมเป็นผู้เข้าถึงพรหมโลก
ด้วยอานิสงส์ดังกล่าวนี้ ท่านผู้ใดมีความประสงค์ที่จะเจริญเมตตาเจโตวิมุตติ ก็จงรีบเร่งมือปฏิบัติได้ตั้งแต่บัดนี้